Category Archives: Epilepsy

ยากันชักตัวใหม่

การใช้ยาพ่นจมูกรักษาการชัก

 

จากการศึกษา และพัฒนา ยากันชัก ที่สามารถ สเปรย์ที่จมูกเพื่อทำให้การจากหยุด ได้ เป็นผลิตภัณที่ชื่อว่า NRL-1: special formulation of diazepam  ใช้ในการรักษาโรคชัด ในกรณีที่มีการชักซ้ำ ทำให้สามารถ  ให้ ยาได้อย่างรวดเร็ว

ปกติเราใช้ Diazepam  ในการรักษา  ภาวะกล้ามเนื้อเกร็ง วิตกกังวลและการชัก ซึ่งในอดีตยาจะมีรูปของเป็นยาเม็ดและ ยาฉีด   แต่ตัว NRL-1  เป็นยา diazepam  ในรูปแบบใหม่ ที่สามารถใช้ในการสเปรย์ เข้าไป โพรงจมูก  ซึ่งพบว่าสามารถทำให้อาการชักหยุดได้ แล้วก็ปลอดภัย  ซึ่งเป็น ยาที่สามารถผู้ป่วยใช้ได้เองอย่างรวดเร็วในการควบคุมอาการชัก  ยา NRL-1  อยู่ในช่วงสุดท้าย ในการวิจัย ใช้ ในทางคลินิก  หลังจากนั้นก็จะมีการขออนุญาต ผ่านทางองค์กรอาหารและยาประเทศ สหรัฐอเมริกา แล้วก็เรา จะมียาใช้ทั่วโลก ในเวลา ไม่ นานมากนัก

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาการรักษากรณีที่ผู้ป่วยเมียการชักซ้ำซ้ำฯติดต่อกัน มีการรักษาหลักก็คือการใช้ ยา diazepam    ฉีดยาเข้าเส้นเลือดดำ หรือการให้ทาง ทวารหนัก  ต่อมามีการใช้ ยา midazolam  ในทางช่องปาก  การที่มิยา NRL-1 ใช้ในทางคลินิก จะทำให้การรักษาผู้ป่วยที่มีการชักซ้ำอย่างต่อเนื่อง ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้นและอย่างรวดเร็วเพราะสามารถที่จะฉีดสเปรย์เข้าในช่องจมูก ซึ่งจะช่วยทำให้ลด การเกิดอุบัติการณ์ การอาการชัก   ต่อเนื่องแบบไม่หยุด (Status epilepticus)

 

ยากันชักตัวใหม่ – Everolimus

ผลจากการศึกษาจากการสุ่ม placebo-controlled ระยะที่ 3 การทดลองแสดงให้เห็นว่า everolimus (Afinitor จาก Novatis) – เป็นยาทานที่มีการพัฒนาเป็นยารักษาโรคมะเร็ง – สามารถลดอาการชักลงอย่างมีนัยสำคัญความถี่ชักในผู้ป่วยโรคลมชักที่ดี้อต่อยา Tuberous sclerosis (TSC)

Tuberous sclerosis (TSC) เป็นโรคทางพันธุกรรมที่หายาก ที่เกิดจาก overactivati​​on ของเป้าหมายของ rapamycin (mTOR) ที่ทำหน้าที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของเซลล์ ในโรค TSC จะนำไปสู่​​การเกิดอาการชักผิดปกติการเกิด cortical malformations, and neuronal hyperexcitability และทำให้เกิด subependymal astrocytomas เซลล์ยักษ์ (SEGAs)

ผลแม้ว่าอาจมีผลกระทบในวงกว้างมากสำหรับการรักษาโรคลมชัก จนถึงตอนนี้ชึ่งยังไม่ได้รับการรักษาทุกคนสำหรับโรคลมชักของพวกเขา เพียงพวกเขาสำหรับการชักของพวกเขาที่เราได้ให้พวกเขายาเสพติดที่ปราบปรามการชักของพวกเขา แต่เรายังไม่ได้พื้นฐานเปลี่ยนกลไกพื้นฐานที่ซึ่งก่อให้เกิดโรคลมชัก.”

everolimus จะพิสูจน์ให้ประสบความสำเร็จในทีเอสซี แต่มันก็อาจจะมีประโยชน์สำหรับบางดีสเพลเชียเยื่อหุ้มสมองและประเภทอื่น ๆ ของโรคลมชักท​​ี่เธอบอกว่า

“นี่อาจจะเป็นขั้นตอนแรก” ดรฝรั่งเศสซึ่งเป็นผู้วิจัยหลักทั่วโลกสำหรับอยู่จริง 3 (ตรวจสอบ everolimus ในการศึกษาของทีเอสซี) ที่กล่าวว่า

เธอแสดงผลที่นี่ในช่วงสถาบันประสาทวิทยาอเมริกัน (AAN) 2016 การประชุมประจำปี EXIST-3 ได้รับการสนับสนุนโดย Novatis

การศึกษารวม 366 ผู้ป่วยที่มี TSC กับอายุเฉลี่ย 10 ปี (ช่วง 2-65 ปี) พวกเขาจะต้องมีอย่างน้อย 16 ชักรักษาทนและได้รับ 1-3 ยากันชัก (เครื่อง AED) ในปริมาณที่มีเสถียรภาพ ในประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วย, 6 หรือมากกว่าเครื่อง AED ล้มเหลวก่อนที่จะลงทะเบียนเรียน

มีผู้ป่วยหลายคนยังพยายามวิธีการรักษาอื่น ๆ รวมทั้งไขมันสูงคาร์โบไฮเดรตต่ำอาหาร ketogenic และการกระตุ้นเส้นประสาทเวกั

โดยรวมเฉลี่ยความถี่ยึดพื้นฐานต่อ 28 วันเป็น 37.5 การศึกษาไม่ได้ จำกัด ชนิดของการชักดังนั้นผู้ป่วยที่มียาชูกำลังคลินิก, atonic, clonic, myoclonic และหลายประเภทยึดอื่น ๆ

หลังจาก 8 สัปดาห์เฟสพื้นฐานผู้ป่วยถูกสุ่มให้ได้รับนอกเหนือไปจากเครื่อง AED ของพวกเขาได้รับยาหลอกลดลงยา everolimus (3-7 นาโนกรัม / มิลลิลิตร) หรือสูงกว่ายา everolimus (9-15 ng / มิลลิลิตร)

หลังจากขั้นตอนการไตเตรท 6 สัปดาห์ผู้ป่วยเสร็จสิ้นขั้นตอนการบำรุงรักษา 12 สัปดาห์

อัตราการออกกลางคันตลอดการพิจารณาคดี “ที่ด้านล่างเมื่อเทียบกับการทดลอง AED อื่น ๆ ” ตามที่ดรฝรั่งเศส; เพียง 5 ในกลุ่มยาหลอก 7 ในกลุ่มรักษาขนาดต่ำและ 8 ในการรักษากลุ่มการรักษาสูงกว่าปริมาณที่ยกเลิก

Depression in patients with epilepsy: how could neurologists, psychiatrists and neurosurgeons co-work and how much do Asian colleagues acknowledge it?

ilae

Depression in patients with epilepsy: how could neurologists, psychiatrists and neurosurgeons co-work and how much do Asian colleagues acknowledge it?

Date: October 9-10th, 2016 Venue: Aichi, Japan

On behalf of the ILAE Neuropsychiatry Commission, we are pleased to invite you to attend the conference

“Depression in patients with epilepsy: how could neurologists, psychiatrists and neurosurgeons co-work and how much do Asian colleagues acknowledge it?”. The event will be held in Aichi, October 9-10, 2016. This meeting offers Japanese physicians and surgeons treating patients with seizures a unique opportunity to meet Japanese and international experts on depression in patients with epilepsy. It aims to disseminate recent insights into the epidemiology, pathogenesis, impact, diagnosis, and best treatment of this common co-morbid condition in patients with epilepsy and bridge gaps between psychiatrists and epileptologists without psychiatric training. Every medical staffs and students who are interested in this topic, including participant of the Annual Meeting of the Japanese Epilepsy Society who is interested in this topic is welcome to come to the symposium without charge.

9th Sunday

14:00-14:05 Opening remarks. Kousuke Kanemoto (Japan)
14:05-14:10 Welcome speech by guest of honor. Yozo Miyake (Japan, President of Aichi Medical University) 14:10-14:35 Epidemiology of comorbid depression in patients with epilepsy (including bidirectional relationship between epilepsy and depression). Andres Miguel Kanner (U.S.A)
14:35-15:00 Depression in epilepsy: why should neurologists care? Alice Yu (Taiwan)
15:00-15:25 Neurobiological aspects of mood disorders: do they explain the high comorbidity of depression and epilepsy? Masumi Ito (Japan)

Coffee break 15:25-15:35

15:35-16:00 Can psychiatric adverse events of AEDs be anticipated when a past and /or family history of mood disorders are identified at the time of the initial evaluation of the seizure disorder? Kousuke Kanemoto (Japan)

16:00-16:25 What is the impact of depression on seizure, psychosocial issues and behavioral problems? Sung-Pa Park (South Korea)

16:25-16:50 Can neurologists identify patients with depressive and anxiety disorders in their outpatient clinic?

Aileen MacGonigal (France)
16:50-17:15 When should patients be referred to psychiatrists? Riki Matsumoto (Japan)

17:15-17:40 Do antidepressant drugs worsen or improve epileptic seizures? Pro and Con Debate. Andres Miguel Kanner (USA)and Kousuke Kanemoto(Japan)
17:40-18:05 Depression in patients with epilepsy in Japan. Go Taniguchi (Japan)

10th Monday

9:00-9:20 Depression before and after epilepsy surgery. Takuji Nishida (Japan)
9:20-9:40 Depression in patients with epilepsy in Korea. Oh-Young Kwon (South Korea) 9:40-10:00 Depression in patients with epilepsy in China. Zhou Dong(China)

10:00-10:20 Depression in patients with epilepsy in Thailand. Yotin Chinvarun (Thailand)

10:20-10:40 Depression in patients with epilepsy in Taiwan. Alice Yu (Taiwan) 10:40-11:10 Overall discussion. Sung-Pa Park (South Korea)
11:10-11:20 Closing remarks. Andres Miguel Kanner (USA)Professor of Clinical Neurology, Director of International Comprehensive Epilepsy Center, Chair of Epilepsy Division, University of Miami

อุปกรณ์ที่ผู้ป่วยสวมใส่ในการตรวจวัดความผิดปกติของสมอง (Wearing the detectives)

อุปกรณ์ที่ผู้ป่วยสวมใส่ในการตรวจวัดความผิดปกติของสมอง (Wearing the detectives)

โดย พ.อ.ดร.น.พ.โยธิน  ชินวลัญช์

Thai smart watch Smartwatchวิสแบนด์ สมาร์ทวอทช์ และเครื่องมือในการตรวจวัดอาการชักและความผิดปกติของประสาทวิทยาเป็นเครื่องมือที่อาจจะมีความแม่นยำใช้ในการตรวจวัดและช่วยในการรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางสมอง ถ้าหากว่านาฬิกาข้อมือที่คุณใส่อยู่สามารถที่จะเตือนว่าจะมีอาการชักที่เกิดขึ้นและทำให้ผู้ป่วยสามารถที่จะเข้าไปอยู่ในบริเวณที่ปลอดภัยหรือหาคนช่วย หรือวิทย์แบนที่สามารถบอกอาการที่เป็นมากขึ้นของโรคปาร์กินสันจะทำให้แพทย์สามารถวางแผนการรักษาได้ สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนในนิยายวิทยาศาสตร์ที่ปัจจุบันได้เป็นจริงแล้วในการใช้ตรวจวัดดูผู้ป่วยและผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงทางประสาทวิทยา การใช้อุปกรณ์ที่สวมใส่ในการตรวจวัดและสามารถให้การเตือนเมื่อผู้ป่วยมีความผิดปกติ ที่เกิดขึ้น จะไม่เหมือนกับวิธีการเก่าฯที่จะต้องมีการจดบันทึก เช่น ในสมุดบันทึกอาการชักในปฏิทิน ในวิทย์แบนและในโทรศัพท์มือถือ app สามารถที่จะบันบันทึกอาการที่เป็นได้ทันทีในขณะนั้นทำให้ได้ข้อมูลที่เป็นละเอียดและถูกต้องในวันนั้นฯ ข้อมูลที่ได้ก็จะเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง ข้อมูลเหล่านี้ที่ถูกต้องอาจจะเป็นข้อมูลที่สามารถใช้เป็นการเตือนผู้ป่วยว่าจะเกิดเหตุการณ์ผิดปกติที่จะเกิดขึ้น

อุปกรณ์รุ่นแรกได้มีการพัฒนาเพื่อจะได้ผู้ป่วยโรคลมชักโดยเป็นระบบที่จะมีอาการเตือนให้คนข้างเคียงหรือคนในครอบครัวทราบว่าผู้ป่วยจะมีการอาการชักที่เกิดขึ้น ปัจจุบันเครื่องมือได้มีการพัฒนาที่ซับซ้อนมากขึ้นสามารถที่จะบันทึกอาการชักจากการเปลี่ยนแปลงในอิริยาบถการเดินและอาการอื่นๆที่เกิดขึ้นก่อนจะเกิดอาการชัก

การใช้อุปกรณ์เหล่านี้ในการรักษาผู้ป่วยโรคลมชัก

ผู้ป่วยโรคลมชักโดยปรกติแล้วจะมาติดตามการรักษากับแพทย์ทุกๆ 1- 3 เดือน ถ้าผู้ป่วยมีอาการที่แย่ลงหรือมีอาการชักที่มากขึ้นแพทย์มักจะมีการปรับยาเพื่อคุมอาการชักดังนั้นถ้ามีอุปกรณ์เหล่านี้ในการบันทึกวัดจำนวนของอาการชักจะทำให้การรักษามีประสิทธิภาพที่ดีขึ้อุปกรณ์เหล่านี้จะให้ข้อมูลที่แม่นยำดีกว่าที่บ่งบอกว่าผู้ป่วยมีอาการชักมากน้อยแค่ไหนและแพทย์ก็จะทราบว่ายาตัวไหนที่จะเหมาะกับผู้ป่วยในรายนั้น ปัจจุบันได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ในเมืองไทยใช้เองแล้วและมีการใช้ที่หน่วยโรคลมชัก ร.พ.พระมงกุฏเกล้า ชึ่งสามารถดาวน์โหลดได้จากเครื่องมือถือที่ใช้ระบบแอนดรอยด์และ

Seizure calendar 4ในอนาคตอันใกล้ก็สามารถใช้ในระบบ iPhone ได้ ในซอฟต์แวร์ระบบนี้ผู้ป่วยสามารถที่จะบันSeizure calendarทึกอาการชักในขณะนั้นในแต่ละวันรวมทั้งอาการผิดปกติหรือผลข้างเคียงจากยาที่เกิดขึ้น ในโทรศัพท์มือถือและข้อมูลเหล่านี้ก็จะส่งเข้าไปที่ Server ซึ่งจะเชื่อมโยงโดยตรงกับข้อมูลของผู้ป่วยในระบบข้อมูลของแพทย์ในทันทีทำให้แพทย์สามารถให้การรักษาหรือแก้ไขภาวะที่เกิดขึ้นได้ทันที นอกจากนี้ระบบนี้ยังมีการเชื่อมโยงไปถึงระบบฐานข้อมูลทำให้แพทย์ทราบถึงความเป็นไปของผู้ป่วยทำให้การรักษามีประสิทธิภาพดีขึ้นนอกจากนี้ระบบนี้ยังมีการเชื่อมโยง ไปยังระบบโซเชียลเน็ตเวิร์ค แช่น facebook, twitter เป็นต้นทำให้ผู้ป่วยสามารถที่จะสื่อสารระหว่างผู้ป่วยด้วยกันเองและแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้ดีขึ้น

Seizure calendar 3Seizure calendar 2

อุปกรณ์เหล่านี้จะสามารถบันทึกอาการชักที่เกิดขึ้นได้ทั้งในขณะตื่นและขณะนอนหลับ โดยบันทึกการเคลื่อนไหวของแขนขาในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการชัก ต่อมาในการพัฒนาการของเครื่องมือก็สามารถที่จะบันทึกถึงอาการชักแบบอื่นๆด้วยโดยที่เครื่องมือที่สามารถวัดการเปลี่ยนแปลงความชื้นของผิวหนังซึ่งสะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าสมองของผู้ป่วยที่มีอาการชักแบบเหม่อลอย ที่มักจะชักอยู่นานประมาณ 2 นาทีรวมทั้งผู้ป่วยจะมีอาการส่งเสียงหรือเคลื่อนไหวเล็กน้อยและรวมทั้งบันทึกการเปลี่ยนแปลงของการเต้นของหัวใจ ซึ่งเรามักจะพบว่าหัวใจมักจะมีการเปลี่ยนแปลงที่เต้นเร็วขึ้นในขณะที่มีอาการชัก นอกจากนี้อุปกรณ์เสริมเช่นการวางขั้วไฟฟ้าที่บริเวณศีรษะเพื่อบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองโดยตรง โดยมีการประดิษฐ์อุปกรณ์ที่สามารถสวมใส่ได้สะดวกโดยที่มีขั้วไฟฟ้าที่บันทึกคลื่นไฟฟ้าลมองจากศรีษะโดยตรง

อุปกรณ์การตรวจวัดอาการทางระบบการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยที่เป็นโรค Multiple sclerosis

ในปีที่แล้ว บริษัทไบโอเจน เป็นบริษัทที่ผลิตอุปกรณ์ในการรักษาผู้ป่วยโรคนี้ได้ ร่วมมือกับบริษัท Google-X ในการศึกษาการใช้วิทย์แบนฟิคบิดในการติดตามการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยเพื่อดูคุณภาพของการเดินและการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงในผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ ในปีที่แล้วได้มีการแจกอุปกรณนี้ให้แก่ผู้ป่วยที่เป็นโรค multiple sclerosis 250 รายเพื่อติดตามดูการเคลื่อนไหวการนอนหลับ นอกจากนี้มีการพัฒนาตัวซอฟต์แวร์ ใน iPad  ที่สามารถที่จะบันทึกการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ แต่อย่างไรก็ตามตัววิทย์แบนด์นี้ยังไม่ซับซ้อนเพียงพอในการที่จะบันทึกแยกรูปแบบการเคลื่อนไหวผู้ป่วยคงต้องจะมีการพัฒนาต่อไป จากผลการศึกษาที่ตีพิมพ์ในวารสาร journal of bio-medical materials and engineering โดยการใช้อุปกรณ์ ที่ติดที่ส้นรองเท้าในผู้ป่วย multiple sclerosis 8 ราย เปรียบเทียบกับผู้ป่วยปกติ 6 ราย เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของการเคลื่อนไหวและการเดิน จากการศึกษาพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญในผู้ป่วยเกี่ยวกับเรื่องการเดินเปรียบเทียบกับคนปกติ อุปกรณ์นี้จะใช้ในการศึกษาภาวะการทดถอยของการเดินในผู้ป่วยโรคได้ นอกจากนี้มีการนำอุปกรณ์นี้ไปศึกษาในผู้ป่วยที่เป็นโรคกล้ามเนื้อ muscular dystrophy เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของอาการของตัวโรคและช่วยทำให้แพทย์เข้าใจในการรักษาผู้ป่วยและการปรับยา ให้กับผู้ป่วย

ในการศึกษาปี 2014 ตีพิมพ์ในวารสาร Journal of Visualized Experiments ในการศึกษาโดยใช้ iPad ติดในหลังของผู้ป่วยมีการตรวจวัดความจำของสมองหรือการตรวจ cognitive performance test เพื่อจะช่วยในการวัดความผิดปกติของผู้ป่วยmultiple sclerosis เปรียบเทียบ อาการทดถอยของการเคลื่อนไหวของป่วย เปรียบเทียบกับกลไกของเรื่องความจำของสมอง คือตั้งใจเอาอุปกรณ์มาติดในผู้ป่วยเพื่อวัดความยืดหยุ่นของร่างกาย วิธีการตรวจเหล่านี้คงได้มีการพัฒนาเพื่อไปใช้ในการตรวจวัดการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยวัดความเร็วของการเดินการทรงตัวและความยืดหยุ่นของร่างกายในผู้ป่วยที่เป็นโรค multiple sclerosis ซึ่งจะทำให้แพทย์เข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงและการของโลกที่มากขึ้นและจะได้มีปั่นปรับเปลี่ยนการรักษาเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

อุปกรณ์ที่สวมใส่ในผู้ป่วยโรคปาร์กินสัน                 

เมื่อเร็วๆนี้นักวิจัยในประเทศอิสราเอล ได้ร่วมมือกับมูลนิธิ Michael J Fox ได้มีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถที่จะวิเคราะห์อาการเคลื่อนไหวต่างๆ 300 อิริยาบถ ในแต่ละวันของป่วยโรคปาร์กินสัน ข้อมูลจะถูกเก็บมาจากอุปกรณ์สมาร์ทวอทช์ซึ่งเชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟนเพื่อใช้วิธีการวิเคราะห์และสังเกตเช่นผู้ป่วย ลุกจากเก้าอี้ได้ยากง่ายแค่ไหน ลุกจากเตียงหรือยกสิ่งของ การเปิดขวด การใช้อุปกรณ์เครื่องครัวในบ้าน ข้อมูลเหล่านี้จะช่วยทำให้แพทย์ใช้ในการวิเคราะห์อาการความรุนแรงของผู้ป่วยได้อย่าง มีประสิทธิภาพ  ถึงแม้ว่าในขณะนี้จะมีจำนวนผู้ป่วยไม่มากนักที่ใช้อุปกรณ์เหล่านี้ได้ แต่ในอนาคตอันใกล้จะมีการใช้ของอุปกรณ์ในจำนวนที่มากขึ้น แม้กระทั่งบริษัท Apple ได้มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน iPhone เรียกว่า Parkinson mPower จะเก็บข้อมูลของผู้ป่วยโรคปาร์กินสัน software ตัวนี้สามารถที่จะวัดความยืดหยุ่นของผู้ป่วยโดยการวัดดูว่าผู้ป่วยสามารถที่จะพิมพ์ได้เร็วมากน้อยขนาดไหน ผู้ป่วยสามารถบันทึกเสียงในแต่ละวันที่จะช่วยทำให้นักวิจัยสามารถดูการเปลี่ยนแปลงเรื่องของการสั่น ที่จะบ่งบอกถึงอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย โดยการใช้ การเชื่อมต่อ iPhone กับที่พี่เอสทำให้ทราบถึงการเคลื่อนไหวและความเร็วของการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย และยังสามารถที่จะวัดการทรงตัว Software ตัวนี้สามารถที่จะดาวน์โหลดจาก Apple store

The Biostamp

Biostamp

อุปกรณ์นี้เป็นเหมือนแผ่นเทปเล็กๆขนาดเท่าแสตมป์ที่สามารถติดที่ผิวหนัง ใตยพลาสเตอร์แบนด์เอดอุปกรณ์นี้พัฒนาโดย โดย MC10 โดยมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในอุปกรณ์นี้จะมีเซ็นเซอร์เล็กๆที่จะเก็บข้อมูลของการเคลื่อนไหวและกิจกรรมในสมองและกล้ามเนื้อและจะส่งข้อมูลแบบไร้สายเข้าไปในสมาร์ทวอทช์ ในขณะนี้ได้มีการพัฒนาเครื่องมือนี้มาใช้ในผู้ป่วยโรคลมชักและโรคทางสมองอื่น เชื่อว่าจะได้เอามาใช้ในการดูการเปลี่ยนแปลงของตัวโรคและช่วยในการรักษาผู้ป่วยในอนาคตอันใก้ล

Embrace

Embrace

ตอนนี้เป็นสมาร์ทวอทช์ที่ผู้ป่วยจะสวมใส่แล้วก็ชนิดกันตรวจวัดอาการชักในสมองโดยใช้หลักการบันทึกการเปลี่ยนแปลงของกระแสฟ้าในบริเวณผิวหนังหรืออุปกรณ์สามารถตรวจจับว่ามีคลื่นไฟฟ้าที่เป็น เริ่มต้นก่อนจะเกิดการชักเกิดขึ้น เครื่องก็จะส่งสัญญาณไปเตือนให้ผู้สวมใส่ว่าจะมีการชักจะเกิดขึ้น จะได้เป็นการป้องกันหรือเตรียมตัวก่อนจะเกิดอาการชักเกิดขึ้น แต่ในปัจจุบันเครื่องมือชนิดนี้สามารถบันทึกโดยเฉพาะ อาการชักที่มีการเคลื่อนไหวที่เป็นบอกว่าเป็นอาการชักแต่ยังไม่สามารถบันทึกการชักแบบเหม่อลอยหรือ absence ได้แต่การวิจัยยังดำเนินต่อไปเพื่อที่เครื่องมือชนิดนี้สามารถที่จะตรวจวัดอาการชักแบบเหม่อลอยได้ ถ้าผู้ป่วยมีอาการ automatisms เช่น เคี้ยวปาก (chewing) ขยับแขนไปมา (fumbling) หรือเดินไปมาขณะมีอาการชัก (wandering)

Brain Sentinel

Sentinel

อุปกรณ์ชนิดนี้ใช้หลักการโดยการใช้ขั้ว ไฟฟ้ายึดติดกับการ กล้ามเนื้อ bicep  เพื่อจะตรวจวัดในการ เคลื่อนไหวของของแขน เวลามีอาการ ชักแบบ tonic-clinic seizure อุปกรณ์นี้จะช่วยในการตรวจวัดอาการชักที่มีจุดกำเนิดในส่วนของสมอง motor cortex หรือมีการกระจายของไฟฟ้าสมองมากที่ส่วนนี้ อุปกรณ์นี้ไม่สามารถตรวจวัดอาการชักที่เป็นชนิดชักแบบเหม่อลอยได้

Seizalarm

Seizalarm

เป็นแอพที่ใช้ใน iwatch และ iPhone ใช้ในการส่งข้อมูลข้อความช่วยเหลือเมื่อ มีอาการเตือนจะเกิดอาการชัก นอกจากนี้มีฟังก์ชัน ที่ช่วยบันทึกจำนวนของการชัก ผู้ป่วยสามารถที่จะตั้งค่าให้มีการส่งข้อมูลช้าลงในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการเตือนอย่างเดียวและผู้ป่วยสามารถที่จะระงับการส่งข้อมูลได้ถ้าไม่มีอาการชักแบบไม่รู้ตัว แต่ถ้าไม่มีระงับการส่งข้อมูลนั้นแสดงว่าแสดงว่าผู้ป่วยมีอาการไม่รู้ตัวไปแล้ว การส่งข้อมูลสามารถส่งเป็นข้อความอีเมลและทางโทรศัพท์โดยสัมพันธ์กับตำแหน่ง GPS การใช้บริการแอพนี้สามารถดาวน์โหลดได้ฟรีแต่ใช้ได้ในเวลาจำกัดหลังจากนั้นแล้วจะต้องมีค่าเสียค่าใช้จ่ายเป็นรายเดือน ในอนาคตอาจจะมีการพัฒนา Seizalarm สามารถบันทึกอาการชักที่แบบชนิดเกร็งกระตุกได้

Smartwatch

Smartwatch

อุปกรณ์การพัฒนาครั้งแรกในปี 2012 ใน San Jose, California, U.S.A. อุปกรณ์นี้จะช่วยเตือน ผู้ป่วย และผู้ดูแลว่าผู้ป่วยมีอาการชัก ส่วนใหญ่อุปกรณ์นี้จะใช้ในผู้ป่วยโรคลมชักที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปีพบว่าช่วยในการบันทึกอาการชักในขณะนอนหลับ อุปกรณ์นี้ก็ยังอยู่ในช่วงขออนุญาตจาก FDA ในประเทศ สหรัฐอเมริกา ราคาค่าอุปกรณ์จะตกอยู่ประมาณ 149 US dollar และมีค่าใช้จ่ายรายเดือนตกประมาณ 20 เหรียญต่อเดือน แต่ถ้ามีการบันทึกลงใน GPS และมีการเตือนเรื่องการทานยาด้วยมีราคาประมาณ 199 เหรียญและค่าสมาชิกรายเดือนประมาณ 30 เหรียญต่อเดือน

จะเห็นได้ว่าอุปกรณ์เหล่านี้ถ้าจะเอามาใช้ในผู้ป่วยโรคลมชักในประเทศไทยจะมีค่าใช้จ่ายที่มากพอสมควรอาจจะทำให้ผู้ป่วยโรคลมชักส่วนใหญ่ไม่สามารถที่จะซื้อหาหรือใช้อุปกรณ์เหล่านี้ได้ดังนั้น หน่วยโรคลมชักโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ได้ร่วมมือกับศูนย์เทคโนโลยี NECTEC พัฒนาอุปกรณ์ Thai Smart watch เพื่อเป็นอุปกรณ์ในการตรวจวัดอาการชักชนิดแบบเกร็งกระตุกหรือแบบเหม่อลอย โดยในขณะนี้ได้มีการเอาอุปกรณ์เครื่องมือมาใช้ในผู้ป่วยโรคลมชักบ้างแล้ว

Thai smart watch

ในอนาคตอันใกล้การใช้อุปกรณ์ที่สวมใส่ในผู้ป่วยในการตรวจวัดอาการชักที่เกิดขึ้นจะมีการนำไปร่วมกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการรักษาที่จะยับยั้งอาการชักไม่ให้เกิดขึ้น เช่น อุปกรณ์การตรวจวัดอาการชักอาจจะมีการทำงานร่วมกันกับอุปกรณ์ที่จะส่งกระแสไฟฟ้าไปที่สมองไปยับยั้งอาการชักหรืออาจจะทำงานร่วมกันกับอุปกรณ์ที่จะให้ยาเข้าไปผู้ป่วยเพื่อยับยั้งอาการชักที่จะเกิดขึ้น ในส่วนของผู้ป่วยเองการที่ผู้ป่วยทราบว่าอาการชักกำลังจะเกิดขึ้นจะทำให้ผู้ป่วยสามารถที่จะเตรียมตัวเองเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายที่จะเกิดจากอาการชักได้

Bangkok Clinical Workshop Neuroimaging “CURRY”

Bangkok  Clinical Workshop Neuroimaging “CURRY” (Download)

MondayOctober5thtoWednesday October7th,2015 Bangkok, Thailand,

Location- Phayathai 1 meet room, PramongkutklaoHospital Bangkok

Bangkok neuroimaging workshop Curry

 

Compumedics is pleased to announce the Thailand Clinical Workshop featuring the Compumedics Neuroscan CURRY software. This hands-on workshop is intended for physicians and EEG/MEG technologists with a focus on the evaluation of epilepsy EEG and MEG data.

Programme Overview

Monday October 5th

Tuesday October 6th

Wednesday October 7th

AM

Introduction to Epilepsy Source Modeling
(Yotin Chinvarun)

Source Modeling

Hands-On

(Michael Wagner)

Source Modeling and Image Processing: Introduction and Hands-On

(Michael Wagner)

Intracranial Analysis: Case Studies
(Yotin Chinvarun)

Hands-On and Q&A

(Michael Wagner)

PM

Interictal and Ictal:

Case Studies

(Yotin Chinvarun)

Hands-On

(Michael Wagner)

Evoked Response Data Analysis: Hands-On (Michael Wagner)

Requirements:

All hands-on sessions will be performed with Compumedics’ Curry software. Participants are to bring their own Windows laptops and a wheel mouse. Curry software and course data will be installed onsite. Laptops should have as a minimum Windows XP SP3 as the OS. Windows 7 or 8 are preferred.

The training will be conducted by Compumedics’ top research scientists Dr Curtis Ponton and Dr. Michael Wagner, with clinical lectures provided by Dr. Yotin Chinvarun M.D. Ph.D , senior Neurologist , Epileptologist and Sleep physician at the Pramongkutklao Hospital and Bangkok hospital.

Compumedics
Clinical Workshop CURRY Neuroimaging Software

Guest Lecturer
Dr. Yotin Chinvarun M.D. Ph. D.

Dr. Chinvarun is a senior Neurologist, Epileptologist and Sleep physician at the Pramongkutklao and Bangkok Hospitals. He was an epilepsy fellow at the Austin Hospital, and was awarded Ph.D. (Neurology) from Melbourne University (1995-1999). Dr. Chinvarun set up the EMU and Epilepsy program at the Chulalongkorn Hospital (1999-2000) and Pramongkutklao Hospital for 16 years.

He is a pioneer of epilepsy surgery in Thailand and has experience in neuroimaging in SPECT and PET. Dr. Chinvarun’s interests include EEG source localization, high density EEG, EEG-fMRI and new technology in neuroimaging for presurgical evaluation in epilepsy.

Dr. Chinvarun currently holds various positions including :

  • >  Director of Comprehensive Epilepsy and Sleep disorder Program at the Pramongkutklao hospital and Bangkok hospital
  • >  Vice president of Thailand Epilepsy Society
  • >  President of the Sleep club, Neurological society of Thailand
  • >  Board committee of Thailand Neurological foundation.
  • Program Instructors
    Dr. Curtis Ponton, Ph. D.

    Dr. Curtis Ponton joined Compumedics Neuroscan in 2000 and has served several roles in the organization including Chief Scientist, Vice President, with current responsibilities in Business Development. With Compumedics Neuroscan he has led the product development team of the EEG/fMRI MicroMaglink for the past several years. Dr. Ponton has authored more than

    50 peer-reviewed publications and book chapters.

    Dr. Michael Wagner, Ph. D.

    Dr. Michael Wagner is a Senior Scientist at Compumedics Neuroscan, and one of the core members ofCurrysoftwareengineeringgroup. Dr.WagnerhasbeenwithCompumedicsNeuroscanfor more than a decade. In addition to his expertise in software engineering, Dr. Wagner remains active in research. His 50+ peer-reviewed publications include recent collaborative studies with Drs. Cook and Plummer from Melbourne University.

    For more information or to register please contact:

    Sombhum Kaewitayakarn

    Tel : +6621488424
    Fax : +6621488423
    Mobile : +66813433246
    email : sombhum.k@smit-medical.com

    Registrations close Friday September 11th , 2015

    Please hurry as spaces are limited!

Featuring Compumedics Neuroscan’s

www.neuroscan.com

AG686_1

Bangkok
Compumedics
Clinical Workshop CURRY Neuroimaging Software

REGISTRATION FORM

Toregisterpleaseemail(scan)theformbelowbacktous (pleaseseecontactdetailsbelow). HURRY – Registrations Close Friday September 11th, 2015.

Featuring Compumedics Neuroscan’s

Registration Form

Name: Title: Institute: Department: Address: City: State/Country: Zip Code/Post Code: Telephone Number: Fax: Email Address:

Course Fee: $1,300(USD) per person Meals: No Preference Payment:

Vegetarian

Wire Transfer

Bank Transfer:

Please transfer funds to the following account:

Credit Card Type: Visa Credit Card Number:

Mastercard

Beneficiary: Account with Bank: BSB:
Account Number: Swift Address:

Compumedics Limited
National Australia Bank Limited 083 – 347
03653 1401 NATAAU33033M

Credit Card (fill the required fields)

Expiration Date: Cardholders Name:

Cardholders Signature: CVC No:

(3 digits on signature panel of card)

Email the form to : sombhum.k@smit-medical.com

Sombhum Kaewitayakarn

Tel : +6621488424 Fax : +6621488423 Mobile : +66813433246

 

Epilepsy News

New AAN/AES Guideline on First Unprovoked Seizure in Adults

epileptic-seizuresThey classified unprovoked seizures into two broad categories: a seizure of unknown etiology or a seizure in relation to a demonstrated pre-existing brain legion or progressive central nervous system disorder. They identified two prognostic class I and 8 prognostic class II studies addressing the probability than an adult with an unprovoked first seizure would have recurrent seizure.

The analysis showed that the cumulative incidence of seizure recurrence increases over time, with most occurring within the first 1 to 2 years after the initial seizure and the greatest risk in the first year — for example 32% at 1 year and just 46% by 5 years.

The risk for seizure recurrence about doubles under certain circumstances. For example, a prior brain insult such as a seizure was associated with an increased relative rate of seizure recurrence at 1 to 5 years of 2.55 (95% confidence interval [CI], 1.44 – 4.51) compared with that in patients with seizures of unknown cause.

Strong evidence also suggests that having an EEG showing signs of epilepsy is associated with increased risk. The relative rate increase for seizure recurrence at 1 to 5 years was 2.16 (95% CI, 1.07 – 4.38) compared with patients without such EEG abnormalities.

There was moderate evidence for other factors increasing the recurrence risk. Having abnormal brain imaging results had a hazard ratio at 1 to 4 years of 2.44 (95% CI, 1.09 – 5.44) compared with not having imaging abnormalities. And having a nocturnal seizure had an odds ratio at 1 to 4 years of 2.1 (95% CI, 1.0 – 4.3) compared with a seizure while awake.

If the seizure has a focal onset, that already says that there may be some faulty wiring, so if you don’t see any focal onset; the EEG is completely normal; and the MRI is completely normal, in those situations the likelihood of a recurrent seizure goes down to about 20% or 25%,

Many people would accept that 25% risk but others would consider it too high, she said. She pointed out that if a patient decides to start medication, and comes off that medication later, they might still face that 25% risk.

However, she pointed out that mediations today are less “toxic” than they were in the past. “It used to be a really big decision to go on a medication; now, the good news is that we have medications that are really well tolerated.”

But unfortunately these newer medications still don’t change the underlying disease. “They treat the symptoms, which in many cases is just as good. If you can take a pill every day and not have seizures.”

The review found moderate evidence that immediate treatment can lower the risk for another seizure within the first 2 years after a first unprovoked seizure.

There was an absolute risk reduction in seizure recurrence of 35% (95% CI, 23% – 46%) for immediate vs delayed AED treatment in pooled 2-year data in adults presenting with an unprovoked first seizure.

Long-Term Prognosis

As for seizure remission over the longer term — over 3 years — the review showed that compared with delaying treatment until a second seizure occurs, immediate AED treatment is unlikely to improve the chance of attaining sustained seizure remission.

While seizure recurrence can cause such serious psychological and social consequences as loss of driving privileges and limitations on employment, one controlled class II study comparing immediate AED treatment with treatment deferred until after a seizure recurrence found no significant difference in standard 2-year quality-of-life measures.

The new guideline comes at a time when the current standard definition of epilepsy is changing. The International League Against Epilepsy has proposed the definition be expanded to encompass people with an unprovoked seizure and at least a 60% risk for seizure recurrence over the next 10 years.

“It used to be that you needed to have two seizures to have epilepsy,” said Dr French. “Many clinicians have been trained that a single seizure is not epilepsy and therefore should not be treated.”

According to the guideline, the incidence of adverse events from AEDs in adults initially treated with a single AED for an unprovoked first seizure is reportedly 7% to 31%. The adverse events appear to be mild and many are reversible when doses are lowered or patients are switched to another AED. At the time of the studies, AEDs included phenytoin, phenobarbital, carbamazepine, valproic acid, and lamotrigine.

The authors pointed out that the newer AEDs may have fewer and different adverse events.

They stressed the importance of patients appreciating how long they may need to be receiving an AED and the risks of AED discontinuation.

The guideline was endorsed by the American Neurological Association and the World Federation of Neurology. A 2007 practice guideline addressed the evaluation of an unprovoked first seizure in adults.

Because neurologists are not always the first clinicians to see patients following a first unprovoked seizure, the new guideline “needs to be promoted and available to all physicians,” including primary care and emergency department doctors, said Dr Krumboltz.

Dr French stressed that a first seizure may not be a convulsion but could be small spells of confusion or strong feelings of déjà vu that can often be missed. She told the story of a 50-year-old women presenting with confusion and feelings of déjà vu. She was sent to an internist, a psychiatrist, and finally a neurologist before MRI found a brain tumor.

An estimated 150,000 adults present annually with an unprovoked first seizure in the United States.

 

Marijuana Compound May Reduce Seizures in Severe Epilepsy

dt_141023_marijuana_leaf_800x600

dt_150102_medical_marijuana_800x600

A new study shows a mean reduction in seizures of over 50% in 3 months among some patients with epilepsy taking cannabidiol (CBD).

Results of an open-label, multicenter trial of a liquid product that is 99% cannabidiol (Epidiolex; GW Pharmaceuticals), the major nonpsychoactive ingredient in marijuana, showed that treatment provided seizure relief in children with Dravet syndrome and Lennox-Gastaut syndrome (LGS) who had been resistant to at least eight antiepileptic drugs.

“I think this is an important study,” and it’s “definitely the largest” study of a pure medical marijuana product, commented lead investigator Orrin Devinsky, MD, director, New York University (NYU) Epilepsy Center, and professor, neurology, NYU. “It looks very, very promising but until we get blinded data, we have to be humble,” he said.

The full results will be presented next week during the American Academy of Neurology (AAN) 67th Annual Meeting.

Uncontrolled Seizures

dt_141223_medical_marijuana_pill_bottle_800x600

CBD is a component of Cannabis sativa with anticonvulsant activity in preclinical models of epilepsy, independent of activity at known endogenous cannabinoid receptors, the authors write. Ten centers have independent US Food and Drug Administration (FDA)–approved open-label Expanded Access Programs and have treated children and young adults with treatment-resistant epilepsies using pure CBD.

Data have been collected on demographic characteristics, seizure counts, and safety through case report forms and tabulated in this series of open-label trials, the authors note. Eligibility was determined and documented in protocols specific to each site after FDA and institutional review board review.

This new analysis included patients aged 2 to 26 years (mean age, about 10.5 years) with uncontrolled seizures enrolled at NYU, Children’s Hospital of Philadelphia (CHOP), and eight other centers across the United States. Patients with Dravet syndrome and LGS represented two of the larger epilepsy groups, although the study also included patients with over 10 other conditions, some genetically related.

Study patients had tried an average of more than eight antiseizure medications and experienced an average of two seizures per day.

The children took CBD in liquid form in a daily dose titrated up to 25 mg per kg.

Data were collected on 213 patients with treatment-resistant epilepsies for safety evaluation. One hundred twenty-three patients had at least 12 weeks of continuous exposure and were included in efficacy calculations.

At month 3, the median percentage reduction in total seizures (convulsive and nonconvulsive) among 123 patients was 48% and the responder rate (50% or greater reduction) was 48%. Seizure freedom was seen in 10% of these patients.

In 93 patients with month 4 data, the median percentage reduction in seizures was 52% and the responder rate was 52%.